ป้องกันการคลิกขวา
Code สำหรับป้องกันการคลิกขวาของคนเข้าเว็บ
(ใช้ป้องกันได้ แต่ไม่ 100%) โดย Copy Code ด้านล่างนำไปวางระหว่าง
<head> และ </head> ในเว็บของคุณ
แล้วก็เปลี่ยนข้อความที่ท่านต้องการให้แจ้งเมื่อคลิกขวาตรงข้อความที่เป็นสี
น้ำเงิน
วิธี Copy ให้ใช้
Mouse ระบาย Code แล้วกด
Ctrl+C เพื่อ Copy แล้ว
Ctrl+V เพื่อวาง
วิธี Copy ให้ใช้
Mouse ระบาย Code แล้วกด
Ctrl+C เพื่อ Copy แล้ว
Ctrl+V เพื่อวาง
<script language="JavaScript">
<!--
var message="กำลังทำอะไร จ๊ะ"; // กำหนดตัวแปรและค่าสำหรับข้อความที่แสดงเมื่อมีการคลิกขวา
function click(e)
{
if (document.all) {
if (event.button == 2) {
alert(message);
return false;
}
}
if (document.layers) {
if (e.which == 3) {
alert(message);
return false;
}
}
}
if (document.layers) {
document.captureEvents(Event.MOUSEDOWN);
}
document.onmousedown=click;
//-->
</scrip
การทำภาพสไลด์
ขั้นตอนการทำภาพสไลด์
1.การทำภาพสไลด์ที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้ต้องอาศัย
โค้ดสองส่วนด้วยกันคือ java script ซึ่งเป็นส่วนควบการทำงานหลักของการสไลด์ภาพ
และ CSS เป็นส่วนของการจัดรูปแบบในการนำเสนอภาพให้มีความสวยงามเหมาะสมตรงตามความต้องการที่ผู้จัดทำต้องการนำเสนอ
2.ก่อนที่จะลงมือทำภาพสไลด์นี้เราจะต้องมีการเตรียมความพร้อมก่อน
นั้นคือ จะต้องมีการเตรียมรูปภาพที่ต้องการนำไปทำสไลด์
รูปภาพที่เราจะนำไปทำสไลด์นั้นควรมีขนาดของรูปภาพเท่ากันทุกรูป
สิ่งนี้จำเป็นเพราะจะทำให้ภาพที่สไลด์ออกมานั้นมีความสวยงามสม่ำเสมอ
และอีกอย่างที่จะต้องเตรียมก่อนทำภาพสไลด์นี้ก็คือ ไฟล์ ที่ควบคุมการทำงาน(Java
Script) จำนวน 2 ไฟล์(jquery.js,
easySlider1.7.js) และไฟล์ css 1ไฟล์(screen.css)
3.เมื่อเตรียมสิ่งที่กล่าวมาในข้างต้นเรียบร้อยแล้ว
เราก็ลงมือเขียนโค้ดได้เลย
และในส่วนของการเขียนโค้ดลงไปนั้นจะมีอยู่สองส่วนด้วยกันคือ
3.1เขียนโค้ดลงไปในส่วนของ
Head (<Head> ...โค้ด... </Head>) ซึ่งเป็นส่วนของการกำหนดค่าการทำงานต่างๆ
โดยโค้ดที่จะต้องนำไปเขียนไว้ในส่วนนี้ก็คือ
· การ
import ไฟล์ CSS เข้ามา
<link href="../css/screen.css"
rel="stylesheet" type="text/css" media="screen"
/>
· การ
import ไฟล์ java script ที่เตรียมไว้เข้ามาใช้
<script
type="text/javascript"
src="../js/jquery.js"></script>
<script
type="text/javascript"src="../js/easySlider1.7.js"></script>
· เขียนโค้ด
java script เพิ่มเติมเพื่อสั่งให้มีการทำงาน
โดยพิมพ์ตามด้านล่างนี้
<script type="text/javascript">
$(document).ready(function(){
$("#slider").easySlider({
auto: true, //ภาพสไลด์เองอัตโนมัติ(True)
continuous: true,//การกำหนดให้มีการวนภาพซ้ำ(Repeat)
numeric: true//เมื่อกดตัวเลขภาพจะสไลด์ตามลำดับตัวเลขนั้น
});
});
</script>
3.2เขียนโค้ดลงไปในส่วนของ body(<body>...โค้ด...</body>)เพื่อให้แสดงผล(ให้เขียนโค้ดตรงตำแหน่งตามที่ต้องการให้แสดงผล)
โค้ดดังกล่าวดูไปจากด้านล่างนี้
<div id="container">
<div
id="header">//กำหนดส่วนหัวของรูป
<h1>ข้อความที่เป็นห้วข้อของรูปที่สไลด์</h1>
</div>
<div
id="content">
<div
id="slider">//ส่วนของภาพที่นำไปทำสไลด์
<ul>
<li><a href="#ลิงค์"><img
src="รูปที่ 1(image1.jpg)" alt="คำอธิบายแทนภาพ"
/></a></li>
<li><a href="#ลิงค์"><img
src="รูปที่ 2(image2.jpg)" alt="คำอธิบายแทนภาพ"
/></a></li>
</ul>
</div>
</div>
</div>
</div>
การทำ counter แบบตัวอักษร
1. ดาวน์โหลด source code และทำการ
unzip เก็บไว้ในโฟล์เดอร์ /cgi-bin/counter/
2. ไฟล์ข้างในจะประกอบด้วย
counter.cgi
คือไฟล์ที่เป็น cgi สำหรับรัน
counter.txt
คือไฟล์สำหรับเก็บข้อมูลการนับ
index.html
คือตัวอย่างการใส่ code สำหรับการเรียก counter.cgi
3. ทำการ upload ทั้งหมดไปเก็บไว้ที่
Server ของ hypermart โดยใช้
FTP Program
4. ไฟล์ counter.cgi ขณะที่
Upload ต้องเลือก mode แบบ
ASCII ด้วยและเปลี่ยน mode เป็น755
ก่อน
5. ที่หน้าเว็บเพจไหน หากต้องการทำการนับจำนวน
ให้หาที่ว่าง ๆ ใส่ code นี้ลงไป
จำนวนผู้เข้าชม <!--#include
virtual="/cgi-bin/counter/counter.cgi"--> ครั้ง
หรือดูตัวอย่างจากไฟล์ index.html ที่ดาวน์โหลดไปก็ได้
6. ตรวจสอบใน source code ของไฟล์
html ก่อนนะครับว่าไม่มีสัญญลักษณ์ต่าง ๆ
ปะปนอยู่ด้วย
7. หลังจากนั้น
โปรแกรมจะทำงานโดยอัตโนมัติเมื่อมีผู้เรียกดูหน้าเว็บเพจ
โดยที่เราไม่ต้องระบุชื่อไฟล์html เลย
8. สามารถตรวจสอบจำนวนของ counter ได้โดยการเรียกดูไฟล์
/cgi-bin/counter/counter.txt
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น